ติดต่อเรา

Email:icothai@gmail.com

Tel0819511100

           ^ กดเบอร์โทรข้างบนเพื่อติดต่อได้เลยคะ 

Line : 0819511100

Office Hours

  • Monday - Friday 
  • 8.30 A.M. to 5.00 P.M.
  • Saturday - Sunday Closed
 ติดต่อสอบถาม

ชื่อ :
นามสกุล :
บัตรประชาชนเลขที่ :
ที่อยู่ :
อำเภอ :
จังหวัด :
รหัสไปรษณีย์ :
มือถือ :
อีเมล์ :
Line ID :
Facebook ID / Name :
เรื่องที่สอบถาม :
 
 

 
 
 
 
 
LINE ID : 0819511100


เคสครอบครัว


วีซ่าแต่งงาน (K-3 Visa) ในประเทศไทย

ทนายเชียงใหม่ และทีมทนายความเชียงใหม่ ขอเรียนว่า เรามีความเชี่ยวชาญ ด้านการสมรส (K-3 Visa) ตามกฎหมายของประเทศไทยและการจัดการเรื่องการสมรสสำหรับชาวต่างชาติในประเทศไทย

 

การสมรสในประเทศไทยนั้นจะเป็นประสบการณ์ที่แสนวิเศษและน่าจดจำ ชาวต่างชาติที่เดินทางมาท่องเที่ยวจำนวนหลายคนเลือกที่จะสมรสในประเทศไทย เนื่องจากมีเกาะและรีสอร์ทในต่างจังหวัดจำนวนมากที่แสนโรแมนติค สำหรับคนอื่นๆสิ่งนี้เป็นสิ่งที่ปฎิบัติได้จริง การสมรสระหว่างชาวต่างชาติกับคู่หมั้นคนไทยนั้นยังเป็นเรื่อง ที่ค่อนข้างจะปกติ อีกด้วย ทนายเชียงใหม่ ขอเรียนว่าสำหรับชาวต่างชาติบางคนที่มีปัญหาความยุ่งยากในการสมรสในประเทศที่พวกเขาอาศัยอยู่นั้น ประเทศไทยจึงเป็นสถานที่ที่ สะดวกและรวดเร็วในการสมรส

 

คำถามที่พบบ่อยในเรื่องการสมรส (K-3 Visa) :

ขั้นตอนการสมรสในประเทศไทยมีการดำเนินการอย่างไรบ้าง

ขั้นตอนการสมรสในประเทศไทย ค่อนข้างจะตรงไปตรงมา สำหรับชาวต่างชาติที่จะสมรสในประเทศไทยนั้น ขั้นแรกจะต้องขอการอนุมัติอย่างเป็นทางการจากสถานทูตของพวกเขาเสียก่อน อย่างไรก็ตาม ทีมทนายเชียงใหม่ และสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ ขอเรียนว่าสถานทูตต่างๆจะมีวิธีปฏิบัติที่แตกต่างกันในการให้การอนุมัตินี้ เมื่อได้การอนุมัติแล้ว ชาวต่างชาติจะได้รับ Affidavit ซึ่งจะแถลงเกี่ยวกับชื่อของชาวต่างชาติผู้นั้น ตลอดจนรายละเอียดส่วนตัว เช่น สัญชาติและความมีอิสระตามกฏหมายในการสมรส Affidavit จะต้องนำมาแปลเป็นภาษาไทยและรับรองความ ถูกต้องตามกฏหมายไทย เมื่อเตรียม เอกสารครบแล้ว จึงจะสามารถดำเนินการสมรสได้ ณ ที่ทำการเขตของไทยซึ่งเป็นที่รู้จักในนาม อำเภอ หรือ เขต

เหตุใดประเทศไทยจึงเป็นสถานที่ที่เหมาะสมในการสมรสกับคู่สมรสชาวต่างชาติ

ในประเทศไทยนั้น ตามกฏหมาย แล้วชาวต่างชาติสามารถสมรสกับบุคคลสัญชาติไทย หรือชาวต่างชาติอื่นได้โดยชอบด้วยกฏหมาย ทนายเชียงใหม่ และทีมงาน ทนายความเชียงใหม่ ขอเรียนว่า มีเงื่อนไขว่าจะต้องเป็นไปตามข้อกำหนด การสมรสในประเทศไทยเป็นการสมรสโดยชอบด้วยกฏหมายตามกฏหมายไทย ซึ่งตามปกติแล้วจะได้รับการยอมรับไปทั่วโลก สำหรับผู้ที่มีปัญหาเรื่องการ ข้ามชาติ ในกรณีคู่สมรสฝ่ายหนึ่งหรือทั้งสองฝ่ายมาจากประเทศต่างกัน ประเทศไทยเป็นสถานที่ที่มีความสะดวกอย่างมากในการจดทะเบียนสมรส ทีมทนายเชียงใหม่ และสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ ขอเรียนว่า ข้อดีอื่นๆ ในการสมรสในประเทศไทย คือ ความหลากหลายของ สถานที่สวยงาม อย่างเช่น รีสอร์ทริมชายหาดระดับโลก ซึ่งเป็นที่ที่สามารถประกอบพิธีสมรสหรือพิธีทางศาสนาได้ ภายหลังจากมีการดำเนินการสมรสตามกฎหมายแล้ว

 

ยังมีข้อดีอื่น ๆ อีกหรือไม่สำหรับการสมรสในประเทศไทย

สำหรับผู้ที่สนใจในการทำสัญญาก่อนการแต่งงาน (Prenuptial Agreements) นั้น ทีมทนายเชียงใหม่ และสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ ขอเรียนว่าโดยปกติแล้วระบบกฏหมายของประเทศไทย จะสนับสนุนการทำสัญญาก่อนการสมรสมากกว่าประเทศอื่นๆในทางตะวันตกที่ (ดูหน้าสัญญาก่อนการสมรส)

 

ดำเนินการสมรส (K-3) ในประเทศไทย ใช้เวลานานเท่าใด

ทนายเชียงใหม่ และทีม สำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ ขอเรียนว่ารวมเวลาที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการเรื่องการให้ถ้อยคำจากสถานทูต การนำเอกสารไปแปลและรับรองตามกฏหมาย และการดำเนินการสมรสที่อำเภอในท้องที่แล้ว ขั้นตอนการสมรสจะเสร็จสิ้นในเวลาเพียง 3-4 วัน ถ้ามีปัญหา ที่ซับซ้อน เช่น การทำสำเนาเอกสาร ที่สถานทูตหรือข้อเรียกร้อง ที่แตกต่างกัน สำหรับสถานทูตของบางประเทศนั้น ขั้นตอนการสมรสก็อาจยืดเยื้อออกไปได้


เหตุใดจึงควรจ้างสำนักงานทนายความให้ช่วยเหลือเรื่องการจดทะเบียนสมรส

การจ้างทนายความมีประโยชน์ในด้านการให้ความช่วยเหลือและดูแลเรื่องการสมรส ทนายเชียงใหม่ และทีมทนายความเชียงใหม่ ขอเรียนว่า เราสามารถช่วยประสานงานในการขอเอกสารทางราชการจากทางสถานทูตและนำไปแปลและรับรองกับกงสุลได้อย่างรวดเร็วโดยที่จะเกิดปัญหาเพียงเล็กน้อย การที่มี ความรู้อย่างดี เกี่ยวกับพิธีการต่างๆในการสมรสแบบไทย การใช้ผู้แปลเอกสาร ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมและการเข้าใจถึงกระบวนการดำเนินการตามกฏหมายจะช่วยลดความล่าช้าหรือความยุ่งยากซับซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ สำหรับบุคคลสัญชาติอเมริกันกับคู่สมรสคนไทยนั้น สำนักทนายงานกฎหมายในเชียงใหม่ที่มีความสามารถ ซึ่งมีความเชี่ยวชาญ ในกฏหมายไทย-อเมริกา สามารถช่วยให้ท่านได้รับวีซ่าแต่งงาน (K-3) เพื่อนำคู่สมรสซึ่งเป็นคนไทยเดินทางไปสมรสยังสหรัฐอเมริกาได้

 

เราสามารถจะจัดเตรียมเอกสารด้วยตนเองได้หรือไม่

ทนายเชียงใหม่ และทีม ทนายความเชียงใหม่ ขอเรียนว่าสามารถทำได้ ท่านสามารถจะดำเนินการเตรียมเอกสารด้วยตนเองได้แต่อาจต้องใช้เวลาค่อนข้างมาก เนื่องจากต้องเดินทางไปหลายสถานที่ เช่น การเดินทางจากหน่วยราชการแห่งหนึ่งไปยังอีกแห่งหนึ่ง ซึ่งอยู่ในเขตต่างกันในกรุงเทพฯ สำหรับผู้ที่จะมาพักผ่อนช่วงวันหยุดในประเทศไทย และในขณะเดียวกันก็จะจดทะเบียนสมรสด้วยนั้น ขั้นตอนในการดำเนินการการสมรสเป็นเรื่องที่น่าเบื่อ ซึ่งอาจทำให้วันหยุดพักผ่อนของท่านกลายเป็นวันหยุดพักผ่อน ที่ต้องทำงาน ในกรณีที่ต้องการทำสัญญาก่อนการสมรสนั้น ควรจัดทำสัญญาโดยสนง ทนายความ ในจังหวัดเชียงใหม่ ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเพื่อรับประกันถึง การมีผลตามกฏหมายของสัญญานั้น สัญญาก่อนการสมรสที่ร่างขึ้นโดยสำนักงานกฎหมายที่ขาดความชำนาญ อาจทำให้เกิดความเสี่ยงในเรื่องของการไม่ชอบด้วยกฏหมายตามกฏหมายไทยหรือกฏหมายของประเทศอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้

 

 

 >> สัญญาก่อนแต่งงาน (Prenuptial Agreements)

เพื่อที่จะรักษาผลประโยชน์ของตนในอนาคต ทนายเชียงใหม่ และทีม ทนายความเชียงใหม่ สามารถช่วยท่านเกี่่ยวกับสัญญาก่อนแต่งงาน สำหรับผู้ที่จะแต่งงานในอนาคต

 

สัญญาก่อนแต่งงานสามารถดำเนินการได้ตามกฎหมายไทยในกรณีที่คู่สัญญาต้องการ ทนายเชียงใหม่ และทีมสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ของเราสามารถช่วยคุณเกี่ยวกับการเตรียมการเกี่ยวกับสัญญาก่อนแต่งงาน การแปลเอกสาร และการดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมายไทย สัญญาก่อนแต่งงานที่จัดทำขึ้นโดยถูกต้องตามกฎหมายย่อมใช้ได้ในเขตอำนาจศาลที่อยู่นอกประเทศไทย แม้ว่าการฟ้องร้องจะไม่สามารถคาดเดาได้และกฎหมายแต่ละประเทศจะมีความแตกต่างกันก็ตาม แต่ก็เป็นการสร้างความปลอดภัยให้แก่ผลประโยชน์ของบุคคล หรือแม้กระทั่งบุคคลที่ต้องการดูแลเกี่ยวกับการเงินในอนาคต ก็ย่อมทำสัญญาก่อนแต่งงานได้

 คำถามเกี่ยวกับสัญญาก่อนแต่งงาน

1. ทำไมเราจึงจำเป็นต้องทำสัญญาก่อนแต่งงาน

สัญญาก่อนแต่งงานมีความจำเป็นต่อการวางแผนทางการเงินในอนาคต ซึ่งสามารถจัดการได้ตลอดการแต่งงาน หรือในเวลาแยกทางกันหลังการแต่งงาน นอกจากนี้ยังเป็นประโยชน์สำหรับบุคคลที่เป็นเจ้าของทรัพย์สินและประสงค์จะจัดการทรัพย์สินในกรณีที่มีการหย่าร้าง

 

2. เราสามารถทำสัญญาหลังจากจดทะเบียนสมรสแล้วได้หรือไม่

ตามกฎหมายไทย สัญญาที่ทำขึ้นหลังจากแต่งงานแล้ว มีผลไม่เหมือนกับสัญญาก่อนแต่งงงาน (โปรดดูเรื่องแต่งงาน)

 

 3. ฉันเป็นคนต่างชาติ และต้องการพาคู่หมั้นซึ่งเป็นคนไทยของฉันกลับไปยังประเทศบ้านเกิด กฎหมายใดที่ฉันจะจ้างให้ทำสัญญาก่อนแต่งงานให้แก่ฉันได้

 

ท่านควรเลือกสำนักงานกฎหมายหรือทนายความที่มีความเชี่ยวชาญทั้งกฎหมายไทยและกฎหมายตะวันตก ซึ่งนั่นจะทำให้มั่นใจได้ว่าสำนักงานกฎหมายหรือทนายความนั้นมีความเข้าใจในรายละเอียดเกี่ยวกับการเตรียมสัญญาก่อนแต่งงานตามกฎหมายไทยและกฎหมายต่างประเทศ เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศอังกฤษ ประเทศออสเตรเลีย ประเทศภาคพื้นยุโรป สำนักงานกฎหมายขอเรียนว่า สำนักงานกฎหมายหรือทนายความที่ดีย่อมร่างสัญญาก่อนแต่งงานให้เป็นไปตามข้อกำหนดของกฎหมายไทย และ เป็นไปตามข้อกำหนดขั้นต่ำของกฎหมายประเทศบ้านเกิดของท่าน

 

4. ทำไมฉันจึงต้องระมัดระวังในการว่าจ้างบริษัทกฎหมายในการเตรียมสัญญาก่อนแต่งงาน

สัญญาก่อนแต่งงานเป็นเรื่องที่ควรระวัง เพราะสัญญาดังกล่าวจะมีผลกระทบต่อผลประโยชน์ของคุณในอนาคต มีสำนักงานกฎหมายหรือทนายความจำนวนมากที่รับทำงานนี้ แต่ไม่มีคุณภาพเพียงพอที่จะดำเนินการ  ทีมทนายเชียงใหม่ และสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ ขอเรียนว่าคุณควรจะเลือกสำนักงานกฎหมายหรือทนายความที่ดำเนินการทางด้านการหย่าและเข้าใจในรายละเอียดของสัญญาก่อนแต่งงานระหว่างประเทศ และสิทธิพื้นฐานในประเทศไทย และประเทศที่เกี่ยวข้อง

 

 5. ทรัพย์สินประเภทใดบ้างที่สามารถระบุไว้ในสัญญาก่อนแต่งงาน

ขึ้นอยู่กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ซึ่งอาจเป็นกฎหมายไทยหรือกฎหมายของประเทศของคู่สมรส หรือผสมกันระหว่างกฎหมายทั้งสองประเทศ ภายใต้กฎหมายไทย ทีมทนายเชียงใหม่ และสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ ขอเรียนว่าคุณอาจจะระบุทรัพย์สินที่เกี่ยวข้อง และแยกทรัพย์สินออกเป็นสองประเภท คือ สินสมรสและสินส่วนตัว คุณสามารถระบุว่าคุณจะจัดการเกี่ยวกับการเงินของคุณอย่างไรในระหว่างการแต่งงาน อย่างไรก็ตามข้อจำกัดเรื่องค่าเลี้ยงดูบุตรโดยทั่วไปแล้วไม่ได้รับอนุญาต

 

 6. ผลต่างกันหรือไม่ระหว่างการที่ฉันแต่งงานที่ประเทศไทยกับที่ประเทศบ้านเกิดของฉัน   

แตกต่างกัน เนื่องจากรายละเอียดเกี่ยวกับกฎหมายขัดกัน และความเหมาะสมของกฎหมายทั้งสอง ดังนั้น เป็นเรื่องสำคัญที่ทนายความของคุณจะต้องเข้าใจทั้งกฎหมายไทยและกฎหมายต่างประเทศ

 

 >> การหย่าในประเทศไทย (Divorce)

การพิจารณาโดยทั่วไปสำหรับการหย่าในประเทศไทย

ในขณะที่การจัดการเรื่องการสมรสในประเทศไทยนั้นเป็น กระบวนการที่ค่อนข้างตรงไปตรงมา แต่ การขอหย่าก็อาจจะมีความยุ่งยากซับซ้อนขึ้นอีกเล็กน้อย มีปัจจัยหลายประการที่จะเข้ามามีบทบาทเมื่อมีการประเมินว่าจะ เป็นไปได้หรือไม่ที่จะหย่าโดยชอบด้วยกฏหมายในประเทศไทย ทนายเชียงใหม่ และทีมสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ ขอเรียนว่า ถ้าปัจจุบันท่านหรือคู่สมรสของท่านอาศัยอยู่ในประเทศไทย ท่านสามารถยื่นฟ้องหย่าในประเทศไทยได้ ถ้าทั้งสองฝ่ายขอหย่าร่วมกัน การดำเนินการหย่าก็ค่อนข้างเป็นเรื่องง่าย แต่ถ้าคู่สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่สมัครใจ หรือไม่สามารถเข้าร่วมในการดำเนินคดีหย่าได้ กระบวนการทางกฎหมายก็อาจเกิดความซับซ้อนมากขึ้น เนื่องจากมีหลายปัจจัยที่อาจเข้ามาเกี่ยวข้องซึ่งโดยปกติแล้วจะมีความจำเป็นที่ต้องได้รับความช่วยเหลือบริการทางทนายความของ ทีมทนายเชียงใหม่ และสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ เพื่อแนะนำท่าน ในการดำเนินขั้นตอนซึ่งมีความซับซ้อนนี้ ทีมทีมทนายเชียงใหม่ และสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่มีความรู้และความเข้าใจในตัวแปรหลายๆประการที่มีความแตกต่างกัน ซึ่งเกิดขึ้นในการดำเนินคดีหย่าที่มีความยุ่งยากซับซ้อน และทีมทนายความด้านการหย่าของเราจะให้บริการในลักษณะ ที่เป็นการเฉพาะบุคคล เพื่อให้ตรงตามความต้องการที่เป็น การเฉพาะของแต่ละท่าน

 

จะดำเนินการหย่าในประเทศไทยได้อย่างไร ถ้าทั้งคู่สมรสและตัวข้าพเจ้าเองยินยอมที่จะหย่าถ้าก่อนหน้านี้ท่านได้จดทะเบียนสมรสไว้ที่สำนักงานเขตในพื้นที่ (เขตหรืออำเภอ) ท่านอาจจะดำเนินการ จดทะเบียนหย่า ได้ ในประเทศไทย ทีมทนายเชียงใหม่ และสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ ขอเรียนว่าการดำเนินการหย่าที่สำนักงานเขตในพื้นที่นั้นกำหนดไว้ว่าท่านและคู่สมรสของท่านจะต้องไม่มีข้อโต้แย้งเรื่องการปกครองบุตรหรือทรัพย์สิน ( การหย่าที่ไม่มีการโต้แย้ง ” ) ถ้ามีสินทรัพย์ที่จะต้องแบ่งกันหรือในเรื่องที่เกี่ยวกับการปกครองบุตร ขอแนะนำให้มีทนายเชียงใหม่ ไปร่วมในการดำเนินการหย่าในลักษณะนี้ด้วย โดยปกติแล้วการเขียนสัญญาการหย่าไว้ล่วงหน้าจะเป็นการดี เมื่อจดทะเบียนหย่า ทีมทนายเชียงใหม่ และสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ ขอเรียนว่าเจ้าพนักงานจะถามคำถามท่านเกี่ยวกับแผนการในอนาคตของท่าน สถานการณ์ด้านการเงินและบุตร (ถ้ามี) และจะให้ท่านกรอกแบบฟอร์มที่มีรายละเอียดเกี่ยวกับเงื่อนไขในการหย่าและเรื่องอื่น ๆ โดยในการหย่านั้นจะต้องมีพยานรับรองจำนวนสองคน

 

 อย่างไรก็ตาม ถ้าหากว่ามีการโต้แย้งการหย่า คู่กรณีจะต้องดำเนินการผ่านระบบศาล โดยในการยื่นฟ้องต่อศาลเพื่อขอหย่านั้น โจทก์หรือจำเลย (หรือทั้งสองคน) จะต้อง เป็นผู้ที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย

 

จะเป็นอย่างไรถ้าคู่สมรสของข้าพเจ้าไม่ยอมหย่า

ถ้าภรรยาหรือสามีไม่ยินยอมหย่า ท่านจะต้องยื่นมูลฟ้องต่อศาล ในการดำเนินการหย่าในกรณีนี้ ตามระเบียบการดำเนินการหย่าแล้ว ท่านจะต้องอ้างมูลเหตุในการหย่าและท่านจะต้องมาแสดงตัวต่อศาลด้วยตนเอง โดยทั่วไปแล้วมูลเหตุในการหย่าในประเทศไทยมีดังนี้ :

 

* แยกกันอยู่เป็นระยะเวลา 3 ปี

* คู่สมรสฝ่ายหนึ่งได้ทอดทิ้งอีกฝ่ายหนึ่งนานกว่าหนึ่งปี

* สามีมีหรือภริยาอุปการะเลี้งยงดูหรือยกย่องผู้อื่นฉันภริยาหรือสามี

* สามีเป็นชู้หรือภริยามีชู้

* คู่สมรส ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง กระทำความผิด (ไม่ว่าจะเป็นความผิดตามกฎหมายอาญาหรือไม่)

* คู่สมรส ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ถูกจำคุกเป็นเวลาเกินหนึ่งปี

* คู่สมรส ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ทำร้ายร่างกายหรือจิตใจอีกฝ่ายหนึ่ง

* ไม่เลี้ยงดู อุปการะ คู่สมรส ตามสมควร

* คู่สมรส ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง มีความวิกลจริตที่ไม่อาจรักษาได้เป็นเวลาอย่างน้อย 3 ปี

* คู่สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีความประพฤติที่ไม่ดี

* คู่สมรส ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง เป็นโรคติดต่อที่ไม่สามารถรักษาได้

* คู่สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีสภาพแห่งกายทำให้ไม่อาจร่วมประเวณีได้ฉันท์สามีภรรยา

 

จะเป็นอย่างไรถ้าคู่สมรสของข้าพเจ้าหรือข้าพเจ้าอยู่ในต่างประเทศ

ถ้าไม่มีการโต้แย้งการหย่า ทั้งสองฝ่ายจะต้องมาที่ที่ทำการอำเภอเพื่อจดทะเบียนหย่าถ้าท่านสมรสและคู่สมรสของท่านไม่เห็นชอบกับการหย่าในประเทศไทย ทนายเชียงใหม่ และทีมสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ ขอเรียนว่าท่านจะต้องขอคำตัดสินจากศาล ถ้าท่านอยู่ในต่างประเทศ ทีมทนายความเชียงใหม่ สามารถยื่นฟ้องหย่าแทนท่านได้ อย่างไรก็ตาม ท่านจะต้องมาด้วยตนเองเมื่อศาลพิจารณาการฟ้องหย่า ถ้าคู่สมรสของท่านไม่มาแสดงตัวหรือไม่กลับมายังประเทศไทยเพื่อโต้แย้งการหย่า ท่านยังสามารถดำเนินการได้ โดยที่มีเงื่อนไขว่าคู่สมรสของท่านต้องได้รับแจ้งถึงการดำเนินการหย่าอย่างเพียงพอเหมาะสมแล้ว จะต้องยื่นขอหมายจากศาลไทย ถ้าคู่สมรสของท่านไม่ได้อยู่ในประเทศไทย และอาจอนุญาตให้ดำเนินการอย่างอื่น (อย่างเช่น โดยการลงประกาศ) ในบางสภาพการณ์ ถ้าคู่สมรสของท่านไม่ตอบหมายศาลจะมีการดำเนินคดีหย่าโดยถือเป็นการผิดนัด

 

จะมีการแบ่งทรัพย์สินและหนี้สินค้างชำระกันอย่างไรในกรณีที่มีการหย่า

ประเทศไทยมี อำนาจตัดสินคดี ที่เกี่ยวข้องกับ สินสมรส เมื่อคู่สมรสจะหย่ากันในประเทศไทย ทรัพย์สินส่วนบุคคล (สินส่วนตัว) ซึ่งได้แก่สินทรัพย์และทรัพย์สินที่ถือครองมาก่อนการสมรส โดยปกติแล้วจะยังคงเป็นทรัพย์สินของผู้เป็นเจ้าของ สินทรัพย์และทรัพย์สินที่ถือครองในระหว่างการสมรสนั้นโดยทั่วไปแล้วจะถือเป็นสินสมรสโดยที่คู่สมรสทั้งสองฝ่ายมีกรรมสิทธิ์ ทีมทนายเชียงใหม่ และสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ ขอเรียนว่ากฎซึ่งเกี่ยวกับการแบ่งทรัพย์สินนั้นมีความซับซ้อนและศาลไทยจะเป็นผู้แบ่งทรัพย์สินตามกฎหมายตามข้อเท็จจริงแต่ละประการในคดีหนี้สินที่เกิดขึ้นระหว่างการสมรส ไม่ว่าที่เกี่ยวกับครอบครัว การรักษาพยาบาลหรือการศึกษานั้นโดยทั่วไปจะอยู่ในความรับผิดชอบของทั้งสองฝ่าย

 

ถ้าข้าพเจ้ามีสัญญาก่อนการสมรสแล้วจะเป็นอย่างไร

ในประเทศไทยนั้นอนุญาตให้มีการทำสัญญาก่อนการสมรสได้โดยที่มีเงื่อนไขว่าจะต้องสอดคล้องกับข้อกำหนดวิธีปฏิบัติในกฎหมายไทย ทนายเชียงใหม่ และทีมทนายความเชียงใหม่ ขอเรียนว่าสัญญาก่อนการสมรสที่จัดทำขึ้นอย่างถูกต้องนั้นโดยปกติแล้วจะถือเป็นสัญญาที่มีผลใช้ได้ตามกฎหมายในเขตอำนาจศาล ในการที่จะให้สัญญาก่อนการสมรสมี ผลตามกฎหมายในเรื่องที่เกี่ยวกับ การสมรสที่จดทะเบียนในประเทศไทยนั้นจะต้องให้ทั้ง สองฝ่ายลงชื่อในสัญญา ตลอดจนมีพยานสองคนด้วย และจะต้องยื่นต่อสำนักงานเขตในพื้นที่ไว้เป็นการล่วงหน้า

 

 

 

 >> สิทธิความเป็นบิดาในประเทศไทย

ในประเทศไทย สิทธิความเป็นบิดาเกิดขึ้นได้จากทั้งการแต่งงานกับมารดา โดยคำสั่งศาล  หรือจากการจดทะเบียน จากการพิจารณา บิดาผู้ให้กำเนิดอาจจะสร้างความสัมพันธ์กับลูกของเขาซึ่งไม่ถูกต้องตามกฎหมาย ดังนั้นจึงไม่มีสิทธิโดยชอบธรรมตามกฎหมายในตัวบุตรของเขา

 

กฎหมายสิทธิความเป็นบิดาในประเทศไทย

สิทธิและความรับผิดชอบของบิดาที่ระบุไว้ในบรรพ 5 : ครอบครัว, ลักษณะ 2 : ความเป็นบิดาและบุตรแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ของประเทศไทยกำหนดว่า บุตรที่เกิดมาจากบิดามารดาที่แต่งงานกันถือว่าเป็นบุตรที่ถูกต้องตามกฎหมายของสามี บุตรที่เกิดนอกสมรสโดยทั่วไปแล้วถือว่ามารดาเป็นมารดาที่ถูกต้องตามกฎหมายของบุตร ทีมทนายเชียงใหม่ และสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ ขอเรียนว่ามารดาผู้ให้กำเนิดจึงเป็นสิทธิตามกฎหมายโดยอัตโนมัติแต่สิทธิของบิดาไม่ได้เป็นเช่นนั้น ความเข้าใจผิดคือ ชื่อบิดาในสูติบัตรสิ่งที่กำหนดสิทธิความเป็นบิดา แต่การเรียกร้องดังกล่าวเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง การดูแลบุตรสามารถที่จะเรียกร้องได้ระหว่างผู้เป็นสามี ภรรยาหรือผู้ปกครอง ซึ่งบุตรจะได้รับการตัดสินโดยศาล

 

 สิทธิของบิดาต่างชาติในประเทศไทย

โดยทั่วๆไปกฎหมายของต่างประเทศเป็นเช่นเดียวกันกับสิทธิความเป็นบิดาในประเทศไทย เพื่อที่จะมีสิทธิในตัวบุตรหนึ่งคนนั้น ผู้เป็นบิดาจะต้องแต่งงานกับมารดา หรือมีเอกสารหลักฐานเพื่อเรียกร้องสิทธิความเป็นบิดาตามกระบวนการทางกฎหมาย ทนายเชียงใหม่ และทีมสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ ขอเรียนว่าประเด็นหนึ่งที่สำคัญเกี่ยวกับบิดามารดาชาวต่างชาติกับคู่สมรสชาวไทย คือการก่อตั้งสิทธิความเป็นพลเมืองของบุตรในประเทศถิ่นกำเนิดของคู่สมรสชาวต่างชาติ การพิสูจน์ความเป็นพลเมืองมักจะเป็นไปในแนวทางเดียวกันกับกฎหมายต่างประเทศและกฎหมายไทย : แต่ละประเทศจะมีความต้องการตามกฎหมายของตนเอง

 

การพิสูจน์ความเป็นบิดาในประเทศไทย

การพิสูจน์ความเป็นบิดานอกสมรสจะเกี่ยวข้องกับศาลชำนัญพิเศษ และขั้นตอนการจดทะเบียนในประเทศไทย สำหรับพิสูจน์สิทธิของความเป็นบิดาที่เป็นชาวต่างชาติ, สถานทูตแต่ละแห่งจะมีระเบียบการพิจารณาของเขาเอง ทีมทนายเชียงใหม่ และสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ ขอเรียนว่ารวมถึงหลักฐานการยื่นเอกสารทางกฎหมาย โดยเฉพาะการทดสอบ DNA และคำสั่งศาล

 

 >> การเลี้ยงดูบุตรในประเทศไทย

ปัญหาของการเลี้ยงดูบุตรมักเกิดขึ้นจากการหย่าและข้อพิพาทระหว่างผู้ฟ้องร้องที่ไม่ได้แต่งงานกัน ส่วนใหญ่แล้วมารดาของบุตรจะฟ้องผู้เป็นบิดาเพื่อให้เลี้ยงดูบุตร ทนายเชียงใหม่ และทีมทนายความเชียงใหม่ ขอเรียนว่าอย่างไรก็ตามยังมีความเป็นไปได้สำหรับบิดาที่มีสิทธิในตัวบุตรที่ต้องการเลี้ยงดูบุตรของพวกเขา

 

 ถ้ามารดาและบิดาสามารถตกลงกันได้ที่จะเลี้ยงดูบุตร ข้อตกลงนี้จะเป็นส่วนหนึ่งที่สามารถทำให้ข้อตกที่กำหนดไว้ลดน้อยได้ บ่อยครั้งที่สัญญาหรือข้อตกลงเป็นสิ่งที่นำไปดำเนินการหย่าร้าง ทีมทนายเชียงใหม่ และสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ ขอเรียนว่าถ้าคู่สมรสสามารถตกลงกันได้ทำให้มีความเป็นไปได้ง่ายในการจดทะเบียนหย่าที่สำนักงานเขตของรัฐบาล  ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกรณีการหย่าร้าง อย่างไรก็ตาม หากมารดาและบิดาไม่ได้แต่งงานกัน สิ่งที่ทำได้คือ การทำข้อตกลงระหว่างกันหรือไปยื่นคำร้องที่ศาล ขึ้นอยู่กับสถานการณ์

 

หากคู่สัญญาไม่สามารถตกลงตามเงื่อนไขของการเลี้ยงดูบุตรได้ ทีมทนายเชียงใหม่ และสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ ขอเรียนว่าสามารถร้องเรียนเพื่อจะยื่นฟ้องต่อศาลเพื่อเรียกร้องค่าเลี้ยงดูบุตรได้ คดีจะตัดสินโดยคณะกรรมการตัดสินกลางศาลเยาวชนและครอบครัวแห่งประเทศไทย องค์คณะศาลจะพิจารณาปัจจัยต่างๆประกอบ

 

การพิจารณาในเรื่องที่เกี่ยวกับแผนการเลี้ยงดูบุตร

อย่างไรก็ตาม ปัญหาแรกที่ศาลต้องตัดสินใจว่าจะเป็นไปตามความในกฎหมายที่ใช้บังคับ คือหน้าที่ที่ยังคงต้องจ่ายค่าเลี้ยงดูบุตรอยู่ หากมีหน้าที่ดังกล่าวศาลจะพิจารณารายได้ที่สัมพันธ์กันของทั้งคู่ ค่าใช้จ่ายของบุตรและปัจจัยอื่น ๆ เพื่อตรวจสอบจำนวนเงินที่ใช้เลี้ยงดูบุตร

 

 >> การรับบุตรบุญธรรม (Adoption)

แต่เดิมการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมเคยจำกัดอยู่เฉพาะในระหว่างเครือญาติ  และผู้ที่รู้จักคุ้นเคยกันเท่านั้น  ซึ่งการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมส่วนใหญ่จะมาจากเจตนาดี  หรือความสงสาร  หรือความต้องการที่จะเกื้อหนุนกันในกลุ่มเครือญาติ  แต่ต่อมาการรับบุตรบุญธรรมก็แพร่ขยายกว้างขวาง ออกไปสู่บุคคลภายนอกอื่นๆที่ประสงค์จะรับเด็กไว้ในอุปการะ เช่น ในครอบครัวที่ไม่มีบุตร  ซึ่งมีทั้งคนไทยและต่างชาติ  ทนายเชียงใหม่ และทีมสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ขอเรียนว่าดังนั้นหากปล่อยให้การรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม กระทำได้อย่างเสรีไม่มีการควบคุม อาจมีผู้ถือโอกาสหาประโยชน์จากการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมได้  ทีมทนายเชียงใหม่ และสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ ขอเรียนว่ารัฐบาลจึงได้ตราพระราชบัญญัติการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมขึ้นเพื่อให้ความคุ้มครองสวัสดิภาพของเด็กที่จะเป็นบุตรบุญธรรม โดยคำนึงถึงประโยชน์ของเด็กเป็นสำคัญ และป้องกันการค้าเด็กในรูปของการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม

 

 

นอกจากนี้  ในบางกรณีผู้รับบุตรบุญธรรมและเด็กอาจไม่เคยพบเจอกันมาก่อน  เช่น  การแสดงความจำนงขอรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมจากสถานสงเคราะห์  โดยปกติผู้รับบุตรบุญธรรม และเด็กไม่มีโอกาสพบกันมาก่อน ย่อมไม่คุ้นเคยกัน กฎหมายจึงกำหนดมาตรการหนึ่งขึ้นมาเพื่อให้โอกาสผู้รับบุตรบุญธรรมและเด็กสร้างความคุ้นเคยกันเสียก่อนที่จะมีการตกลงปลงใจจดทะเบียนรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม  มาตรการดังกล่าวคือการกำหนดให้มีการทดลองเลี้ยงดูเด็กเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 6 เดือน  เพื่อทดสอบว่าผู้รับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมมีคุณสมบัติเหมาะสมที่จะเลี้ยงดูเด็กหรือไม่   อย่างไรก็ดี  ทนายเชียงใหม่ และทีมทนายความเชียงใหม่ ขอเรียนว่าถ้าเป็นการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมในระหว่างเครือญาติ ทีมทนายเชียงใหม่ และสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ ขอเรียนว่ากฎหมายก็ยกเว้นให้ไม่ต้องทดลองเลี้ยงดูเด็กก่อน  เพราะมีความเชื่อว่าบุคคลที่เป็นญาติของเด็กย่อมจะไม่คิดร้ายต่อเด็ก  และรวมถึงกรณีที่ผู้รับบุตรบุญธรรมและเด็กไม่ใช่ญาติทางสายเลือด  หากแต่เป็นบุคคลที่เข้ามาเกี่ยวข้องกันโดยผลของกฎหมาย เช่น เด็กนั้นเป็นบุตรบุญธรรมของคู่สมรสของผู้รับบุตรบุญธรรมเอง  หรือ อาจเป็นบุตรที่ติดมาของคู่สมรสอีกฝ่ายหนึ่ง  กรณีเช่นนี้ย่อมวางใจได้ว่า  ผู้รับบุตรบุญธรรมน่าจะต้องมีเจตนาจริงใจในการรับบุตรบุญธรรม  ทีมทนายเชียงใหม่ และสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ ขอเรียนว่าดังนั้นใน พ.ศ. 2533  จึงมีการแก้กฎหมายเพิ่มข้อยกเว้นไม่ต้องทดลองเลี้ยงดูเด็ก ให้ขยายไปถึงกรณีที่คู่สมรสฝ่ายหนึ่งจะรับบุตรบุญธรรมหรือบุตรที่ติดมาของคู่สมรสอีกฝ่ายหนึ่งเป็นบุตรบุญธรรมของตนไม่จำต้องมีการทดลองเลี้ยงดูเด็กก่อน

 

 หลักกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ การรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมโดยตรงมี 2 ฉบับ คือ

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ครอบครัว  ลักษณะ 2 บิดามารดากับบุตร และหมวด 4 บุตรบุญธรรม กฎหมายในส่วนนี้ใช้บังคับกับการรับบุตรบุญธรรมทุกกรณี  ไม่ว่าบุตรบุญธรรมจะเป็นผู้เยาว์หรือบุคคลซึ่งบรรลุนิติภาวะแล้วก็ตาม

 

 

 

พระราชบัญญัติการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม พ.ศ. 2522 แก้ไขเพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัติ การรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม พ.ศ. 2533 ประกอบกับ กฎกระทรวง ฉบับที่ 9 (พ.ศ.2543)  ทีมทนายเชียงใหม่ และสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ ขอเรียนว่า กฎหมายในส่วนนี้บัญญัติถึงวิธีการและขั้นตอนในการขอรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม โดยเน้นในเรื่องแบบวิธีในการขอรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมเป็นสำคัญ  รวมตลอดถึงการทดลองเลี้ยงดู  ซึ่งเป็นเงื่อนไขสำคัญในการขอรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมด้วย

 

 >> การปกครองบุตรบุญธรรมในประเทศไทย

ข้อพิพาทในเรื่องอำนาจปกครองบุตรระหว่างบิดามารดาสามารถเกิดขึ้นในกรณีมีการหย่าร้างหรือระหว่างบิดามารดาที่ไม่ได้จดทะเบียนสมรสกันตามกฎหมายไทย ทั้งบิดาและมารดามีสิทธิเต็มที่ในอำนาจปกครองบุตรของตน ทีมทนายเชียงใหม่ และสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ ขอเรียนว่าอย่างไรก็ตามปัญหาทางกฎหมายมักจะเกี่ยวข้องกับการพิสูจน์ความเป็นบิดา หรืออีกนัยหนึ่งก็คือ กฎหมายไทยนั้นต้องการให้บิดาสามารถเป็น บิดาโดยชอบด้วยกฎหมายได้ เมื่อเป็นบิดาผู้ให้กำเนิด เพื่อที่จะมีสิทธิในความเป็นบิดา

 

สิทธิความเป็นบิดา

สิทธิความเป็นบิดา ได้ถูกสร้างขึ้นดังเช่นการพิสูจน์ความเป็นบิดา บิดาในทางกฎหมายแตกต่างจากบิดาผู้ให้กำเนิด  ทีมทนายเชียงใหม่ และสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ ขอเรียนว่าหลายกรณีมีปัญหาหลักกับหลักฐานการเป็นบิดาโดยชอบด้วยกฎหมาย มีหลายๆกรณีที่สามารถรองขอโดยบิดาผู้ให้กำเนิดในการหาสิทธิความเป็นบิดา หรือจากมารดาในการหาการอุปการะบุตรและหน้าที่อื่นๆจากบิดาผู้ให้กำเนิด

 

 ประโยชน์สูงสุดของเด็ก

ในกรณีของการดูแลบุตรเป็นการดำเนินการของศาลไทย หลักที่ใช้ประกอบการพิจารณาของศาล ศาลจะกำหนดว่าสิ่งใดคือสิ่งที่ดีที่สุดสำหรับบุตรโดยพิจารณาจากการดูแลบุตร ทีมทนายเชียงใหม่ และสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ ขอเรียนว่าศาลไทยจะวิเคราะห์จากพฤติกรรมของผู้ปกครองและผลจากการเจริญเติบโตของบุตรอย่างใกล้ชิด

 

การวิเคราะห์บทบาทของนักสังคมสงเคราะห์

การสังเกตและศูนย์คุ้มครองได้รับการจัดตั้งขึ้นโดยศาลเยาวชนและครอบครัวแห่งประเทศไทยเพื่ออนุญาตให้มีการประเมินผลการทำงานเบื้องต้นทางสังคมของผู้ปกครอง และบุตรมีส่วนร่วมในข้อพิพาทการปกครองบุตร รายงานของ OPC (สถานพินิจ) ทีมทนายเชียงใหม่ และสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ ขอเรียนว่าสามารถส่งต่อไปยังศาลเพื่อให้ความช่วยเหลือครอบครัวด้วยความมุ่งมั่นในเรื่องของปัญหาในการดูแลบุตร

 

ทนายความอำนาจปกครองบุตรในประเทศไทย

ทนายเชียงใหม่ และทีมสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ ขอเรียนว่าทีมทนายความมีความเชี่ยวชาญด้านกฎหมายครอบครัวกว่าสามทศวรรษของในการพิจารณาคดีและประสบการณ์ในการให้คำปรึกษาในเรื่องกฎหมายครอบครัว รวมทั้งเรื่องการดูแลบุตร, เลี้ยงดูบุตร, ข้อพิพาทด้านทรัพย์สิน  การหย่าร้าง   ความเป็นผู้ปกครอง และการเพิกถอนสิทธิการเลี้ยงดูบุตรและสิทธิความเป็นผู้ปกครอง

วัตถุประสงค์หลักของทีมทนายเชียงใหม่ และสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ ในเรื่องการดูแลบุตรในทุกกรณี พวกเราสามารถที่จะชนะคดีและปกป้องผลประโยชน์ลูกค้าของเรา อย่างไรก็ดีเรื่องการปกครองบุตรเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อน พวกเรานั้นเข้าใจและให้ความสำคัญโดยมีความเห็นอกเห็นใจ ความเข้าใจและความอดทน

ดังนั้น บทบาทของเราประกอบด้วยสองส่วนคือ เราเป็นทนายให้แก่ลูกค้าของเราและยังมีความเห็นอกเห็นใจและให้คำปรึกษาเพื่อแก้ปัญหาไปพร้อมๆกันอีกด้วย


#ทนายเชียงใหม่อาสาช่วยท่านด้วยใจ #ทนายเชียงใหม่ #ทนายความเชียงใหม่ #ทนายเชียงใหม่เก่ง #ปรึกษาทนายเชียงใหม่ #ทนายอาสาเชียงใหม่ #ปรึกษาทนายเชียงใหม่ฟรี #ทนายความเชียงใหม่มืออาชีพ #ที่ปรึกษากฎหมายเชียงใหม่ #ปรึกษาทนายเชียงใหม่ #รายชื่อทนายความเชียงใหม่ #สำนักทนายความเชียงใหม่ #ทนายเก่งๆเชียงใหม่ #สภาทนายความเชียงใหม่ #สำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ #ทนายที่ดินเชียงใหม่ #ทนายอาสาศาลเชียงใหม่ #ทนายอาสาศาลากลางเชียงใหม่ #กฎหมายเชียงใหม่ #สำนักงานทนายความเชียงใหม่ #สำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ #สำนักงานกฎหมายในจังหวัดเชียงใหม่ #ทนายฝึกงานเชียงใหม่ #ฝึกงานทนายเชียงใหม่ #LawFirmเชียงใหม่ #ปรึกษาทนายเชียงใหม่  #ทนายเก่งเชียงใหม่ #ทนายเชียงใหม่pantip #ทนายอาสาเชียงใหม่ #ปรึกษาทนายฟรีเชียงใหม่ #ทนายเชียงใหม่เก่ง #ทนายความเชียงใหม่เก่ง #ทนายอาสาเชียงใหม่ฟรี #สํานักงานกฎหมาย เชียงใหม่  #ทนายครอบครัวเชียงใหม่ #ทนายสองพี่น้อง #ทนายฝาง #ทนายอาสาเก่งๆ #ทนายสันป่าตอง #ทนายสันทราย #ทนายแม่ริม #ทนายสันกำแพง #ทนายสารภี #ทนายความเชียงใหม่คดีหย่า
 
 
Post By ADMIN ดร.เกียรติศักดิ์ ทนายวิถีพุทธ เนติบัณฑิตย์ไทย และทีมทนายความเชียงใหม่ ทนายเชียงใหม่, ทนายความเชียงใหม่, เชียงใหม่, สภาอุตสาหกรรมเชียงใหม่, ทนายประชาชน, สำนักงานทนายความเชียงใหม่, สำนักงานกฎหมายเชียงใหม่, สำนักงานกฎหมายในจังหวัดเชียงใหม่, ปรึกษาทนายเชียงใหม่, ทนายอาสาเชียงใหม่, ปรึกษาทนายเชียงใหม่ฟรี, ทนายเชียงใหม่เก่ง, สภาทนายเชียงใหม่, ทนายความเชียงใหม่มืออาชีพ, ที่ปรึกษากฎหมายเชียงใหม่, ทนายเชียงใหม่ฟรี, ทนายที่ดินเชียงใหม่, ทนายอาสาศาลเชียงใหม่, ทนายอาสาศาลากลางเชียงใหม่, กฎหมายเชียงใหม่, ทนายอาสาเชียงใหม่, สภาทนายเชียงใหม่, ปรึกษาทนายเชียงใหม่, ทนายเก่งเชียงใหม่, ทนายความเชียงใหม่เก่ง
, ทนายเชียงใหม่pantip, ทนายอาสาเชียงใหม่, ปรึกษาทนายฟรีเชียงใหม่, LawFirmเชียงใหม่, ปรึกษาทนายฟรีเชียงใหม่, ทนายสองพี่น้อง, ทนายฝาง, ทนายเชียงใหม่เก่ง, ทนายอาสาเชียงใหม่ฟรี, สํานักงานกฎหมาย เชียงใหม่, ทนายครอบครัวเชียงใหม่, ทนายอาสาเก่งๆ, ทนายสันป่าตอง, ทนายสันทราย, ทนายแม่ริม, ทนายสันกำแพง, ทนายสารภี, ทนายความเชียงใหม่คดีหย่า


Share on Facebook

ปรึกษาฟรี!! มุ่งมั่นช่วยเหลือแก่ทุกท่าน แบบมิตรภาพ โดยทีมทนายความวิถีพุทธ

ดร.เกียรติศักดิ์ เนติบัณฑิตย์ไทย ทนายวิถีพุทธ และทีมทนายความเชียงใหม่ ติดต่อโทร 081-951-1100

 
เว็บสำเร็จรูป
×